วันพุธที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2555

วิธีการขออนุญาตสร้างโรงงานไฟฟ้าแสงอาทิตย์

วิธีการขออนุญาตโรงงานไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ โดย ดร.สมัย เหมมั่น



ผมขอสนับสนุนพลังงายทดแทน ถ้าคุณอยากรู้ผมมีคำตอบ

โดย ดร.สมัย  เหมมั่น
maikub01@yahoo.com 


คำแนะนำการยื่นคำขอรับใบอนุญาตผลิตพลังงานควบคุม

                        เนื่องจากพระราชกฤษฎีกากำหนดพลังงาน พ.ศ.2536  (ออกตามพระราชบัญญัติการพัฒนาและส่งเสริมพลังงาน พ.ศ.2535)  กำหนดให้พลังงานไฟฟ้าซึ่งมีขนาดการผลิตรวมของแต่ละแหล่งผลิตตั้งแต่  200  กิโลโวลต์แอมแปร์ขึ้นไป เป็นพลังงานควบคุม

                        และเนื่องจากพระราชกฤษฎีกากำหนดประเภท ขนาด และลักษณะของกิจการพลังงานที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องขอรับใบอนุญาตการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2552  (ออกตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550)  กำหนดให้กิจการผลิตไฟฟ้าที่มีกำลังการผลิตรวมของแต่ละแหล่งผลิตต่ำกว่าหนึ่งพันกิโลโวลต์แอมแปร์จะได้รับการยกเว้นไม่ต้องขอรับใบอนุญาตการประกอบกิจการพลังงานกับสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (สกพ.) 

                        ดังนั้นผู้ที่มีการผลิตไฟฟ้าซึ่งมีขนาดการผลิตรวมของแต่ละแหล่งผลิตตั้งแต่  200  กิโลโวลต์แอมแปร์ถึง   999    กิโลโวลต์แอมแปร์จะต้องยื่นขออนุญาตกับกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.)  ซึ่งตั้งอยู่เลขที่   17   ถนนพระรามที่ 1   เขตปทุมวัน  กรุงเทพฯ  10330  (อาคาร 6  ชั้น 7)โทร  0 2226 1827,  0 2226 1379    โทรสาร  02 225 9739    

                        และกิจการผลิตไฟฟ้าที่มีกำลังการผลิตรวมของแต่ละแหล่งผลิตตั้งแต่หนึ่งพันกิโลโวลต์แอมแปร์ขึ้นไปจะต้องยื่นขออนุญาตกับสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน (สกพ.)   ซึ่งตั้งอยู่เลขที่   319   อาคารจัตุรัสจามจุรี  ชั้น 19   ถนนพญาไท   เขตปทุมวัน  กรุงเทพฯ  10330  โทร  0 2207 3599  ต่อ  621   โทรสาร  02 207 3502 


โรงงานเครื่องดื่ม  

[แก้] ส่วนประกอบของเครื่องดื่มชูกำลัง

ของดีคนทำงาน เครื่องดื่ม คนทำงาน น่าสนใจ ของใหม่ที่คนไทยรู้จักมานาน  50-50 ฟิฟตี้-2000  บ.นครปฐมเครื่องดื่ม จำกัด

 

[แก้] ประโยชน์ของเครื่องดื่มชูกำลัง

นักวิจัยกล่าวว่า เนื่องจากเครื่องดื่มชูกำลังมีส่วนผสมของทอรีน ซึ่งสามารถลดอาการเมาค้าง ลดคลอเลสเตอรอล แต่ก็มีบางรายอ้างสรรพคุณว่า ช่วยส่งกระแสความรู้สึกให้ไวขึ้น ซึ่งคล้ายกับสารในนมแม่ ทำให้เครื่องดื่มของเด็กบางยี่ห้อได้ไส่สารนี้เข้าไป และยังมีสารอาหารประเภทวิตามินอีกหลายแบบ เช่น วิตามินบี6 ซึ่งช่วยช่วยบรรเทาการคลื่นไส้อาเจียน และ ช่วยร่างกายสร้างน้ำย่อยในกระเพาะอาหารและแร่ธาตุแมกนีเซียม และวิตามินบี12 ที่มีคุณสมบัติช่วยสร้างเม็ดเลือดแดง สำหรับเครื่องดื่มชูกำลังบางยี่ห้อที่มีราคาสูงจะมีส่วนผสมของสารกลูคูโรโนแลกโตน ซึ่งเป็นสารประกอบอีกชนิดหนึ่งของเครื่องดื่มชูกำลังช่วยทำให้ทุเลาอาการเหนื่อย ช่วยบำรุงข้อต่อส่วนต่างๆ ของร่างกาย [27]

[แก้] ผลกระทบของเครื่องดื่มชูกำลัง

[แก้] ด้านสุขภาพ

นักวิชาการหลายท่านออกมากล่าวว่า โทษของเครื่องดื่มชูกำลังส่งผลกระทบร้ายแรงในด้านจิตใจ เช่น กระสับกระส่าย มือเท้าสั่น โดยเฉพาะในเด็ก ในกรณีดื่มเครื่องดื่มชูกำลังร่วมกับสุรา จะทำให้เพิ่มอาการเมาเป็น 2 เท่า ส่วนอาจารย์จูเลีย เชสเตอร์ อาจารย์ท่านหนึ่งกล่าวว่า คนส่วนใหญ่ตกเป็นเหยื่อของสุรา แต่คนเหล่านั้นก็ยังพยายามก็จะต่อสู้จากการโฆษณาสุรา ทำให้เป็นที่มาของการโฆษณาเครื่องดื่มชูกำลังในท้องตลาด สำหรับในสถานศึกษาก็เริ่มมี "เหล้าชูกำลัง" เนื่องจากนักศึกษาบางคนต้องการดื่มสุรา แม้ว่าจะผิดกฎหมายก็ตาม โดยเครื่องดื่มชูกำลังที่ผสมกับสุรานั้น มีอันตรายมากกว่าอาการเมาค้าง ถึงแม้จะเป็นเครื่องดื่มที่ได้รับความนิยมก็ตาม ด้านแทมมี่ ลูว์ ผู้ช่วยผู้สนับสนุนสุขภาพ ของสำนักงานสุขภาพนักเรียน กล่าวว่า เครื่องดื่มชนิดนี้เมื่อดื่มเข้าไปแล้วจะไม่รู้สึกอ่อนล้าหรือเพลีย แต่จะเป็นอันตรายต่อเยาวชน เนื่องจากเยาวชนจะเข้าใจผิดว่าเครื่องดื่มชนิดนี้ดื่มแล้วจะไม่เป็นอันตราย อาการที่เกิดขึ้นได้แก่ เกิดอาการขาดน้ำ เนื่องจากฤทธิ์ของคาเฟอีนและแอลกอฮอล์ผสมกัน (ส่วนใหญ่คนจะเข้าใจผิดว่าการผสมเครื่องดื่ม 2 ชนิดเข้าด้วยกันจะช่วยแก้อาการเมาค้างได้) แต่ในการทดลองนำยากระตุ้นประสาทผสมกับยากดประสาท ปรากฏว่าไม่เกิดอาการเมาค้างแต่อย่างใด[28] สำหรับผลการวิจัยจากประเทศออสเตรเลียก็ระบุว่า การดื่มเครื่องดื่มชูกำลังอาจเป็นอันตรายถึงชีวิต สำหรับคนที่มีอาการเครียด มีความดันโลหิตสูง หรือมีระบบการทำงานของระบบหลอดเลือดบกพร่อง สามารถทำให้เป็นโรคหลอดเลือดไปเลี้ยงสมองอุดตัน ได้ ทำให้มีนักวิชาการหลายท่านแนะนำว่าไม่ควรดื่มเครื่องดื่มชูกำลังวันละ 2 ขวด

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น